Long-boat Racing

Last updated: 3 มิ.ย. 2566  |  1821 จำนวนผู้เข้าชม  | 

Long-boat Racing


Long-boat Racing

Long-boat Racing is one of the traditional rites which marks the end of the Buddhist Rains Retreat. It mainly takes place in the 11th or 12th lunar months (around September or October). When the water level is at its highest. At this time, racing is held almost nationwide, notably in Phichit, Phitsanuloke, Nan, Angthong, Pathumthani, Surat Thani and Ayutthaya etc.
Traditionally, long-boat racing is held as an annual event by provinces with a major waterway flowing through. It is not restricted to any particular region. At present, long-boat racing is considered as a national sport, its history can be traced back to Ayutthaya period some 600 years ago. However, boat racing in those days was just only a means to keep boat men physically and mentally fit for national defence.
Usually racing boats are made from dugout tree trunks and can accommodate up to 60 oarsmen sitting in a double row. The oarsmen usually dress in the same colour. The festive event draws several hundreds of local and foreign spectators who watch the race along both sides of the riverbank enthusiastically. At the end, trophies and prizes are given to the winning teams.

การแข่งเรือยาว

การแข่งเรือยาวเป็นประเพณีอย่างหนึ่งซึ่งจัดขึ้นในช่วงสิ้นสุดฤดูกาลเข้าพรรษา โดยปกติแล้วจะมีขึ้นในเดือน11 หรือ 12 (ประมาณเดือนกันยายนหรือตุลาคม) เมื่อระดับน้ำขึ้นสูงสุด ณ เวลานี้ การแข่งขันจะจัดขึ้นเกือบทั่วทั้งประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในจังหวัดพิจิตร พิษณุโลก น่าน อ่างทอง ปทุมธานี สุราษฎร์ธานีและอยุธยา เป็นต้น
ตามประเพณีแล้ว การแข่งเรือยาวจะจัดขึ้นเป็นงานประจำปี โดยจังหวัดซึ่งมีทางน้ำใหญ่ไหลผ่านไม่ได้จำกัดอยู่แต่เฉพาะภาคใดภาคหนึ่ง ปัจจุบันนี้ การแข่งเรือยาวถือเป็นกีฬาประจำชาติ ประวัติการแข่งขันเรือยาวนี้ย้อนกลับไปในยุคกรุงศรีอยุธยาประมาณ 600 ปีมาแล้ว แต่ว่าการแข่งเรือในสมัยนั้นเป็นเพียงเพื่อให้นักพายเรือมีความพร้อมทั้งทางด้านกายและจิตใจเพื่อการป้องกันประเทศ
โดยปกติเรือแข่งนี้จะทำจากลำต้นไม้ขุดและสามารถบรรจุฝีพายได้ถึง 60 คนนั่งคู่กันสองแถว ตามปกติแล้ว ฝีพายจะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าสีเดียวกัน ประเพณีนี้จะดึงดูดคนดูทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศหลายร้อยคนผู้ซึ่งจะนั่งดูการแข่งขันบนฝั่งแม่น้ำสองฝั่งอย่างกระตือรือล้น เมื่อสิ้นสุดการแข่งขันก็จะมีการแจกถ้วยและรางวัลให้แก่ทีมที่ชนะด้วย

ขอบคุณข้อมูล
www.guidescenter.com

 
 

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้